วันพุธที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2559

มงคลสูตรคำฉันท์

มงคลสูตรคำฉันท์  เป็นวรรณคดี  คำสอน  ผลงานพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงนำหลักธรรม ที่เป็นพระคาถาบาลีจากพระไตรปิฏกตั้งแล้วแปลถอดความเป็นคำประพันธ์ที่ ไพเราะ  มีความงดงามทั้งด้านเสียงและความหมาย  สามารถจดจำได้ง่าย  มงคลสูตรคำฉันท์นี้จะเกิดแต่ตัวเราเองได้ก็ต้องเป็นผลมาจากการประพฤติ ปฏิบัติดีของตนเองเท่านั้น  หาได้มาจากปัจจัยอื่นเลย
         ผู้แต่ง : พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว
       ลักษณะคำประพันธ์ :  กาพย์ฉบัง ๑๖ และอินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ แทรกคาถาบาลี
       จุดมุ่งหมายในการแต่ง : เ อ่านเพิ่มเติม

คำนมัสการอาจริยคุณ

นมัสการอาจริยคุณ
            อนึ่งข้าคำนับน้อม               ต่อพระครูผู้การุญ
โอบเอื้อและเจือจุน                        อนุสาสน์ทุกสิ่งสรรพ์
ยัง บ ทราบก็ได้ทราบ                   ทั้งบุญบาปทุกสิ่งอัน
ชี้แจงและแบ่งปัน                            ขยายอัตถ์ให้ชัดเจน
จิตมากด้วยเมตตา                          และกรุณา บ เอียงเอน
เหมือนท่านมาแกล้งเกณฑ์        ให้ฉลาดและแหลมคม
ขจัดเขลาบรรเทาโม-                     หะจิตมืดที่งุนงม
กังขา ณ อารมณ์                            ก็สว่างกระจ่างใจ
คุณส่วนนี้ควรนับ                            ถือว่าเลิศ ณ แดนไตร
ควรนึกและตรึกใน                          จิตน้อมนิยมชม
     ถอดความ   กล่าวแสดงขอความเคารพนอบน้อมต่อครู  ผู้มีความกรุณา  เผื่อแผ่อบรมสั่งสอนศิษย์ทุกสิ่ง   ให้มีความรู้ ทั้งความดี ค อ่านเพิ่มเติม

คำนมัสการมาตาปิตุคุณ

บทกวีนี้ กล่าวนอบน้อมพระคุณของบิดามารดา ผู้ได้เกื้อกูลมาตั้งแต่เล็กจนเติบโต   คอยเฝ้าระวังรักษาประคับ ประคองดูแลอยู่ไม่ยอมห่าง  แม้จะ ลำบากเท่าไรก็อดทนได้ เลี้ยงลูกอย่างทะนุถนอม ปกป้องอันตราย จนนรอดพ้นอันตราย เติบใหญ่  เป็นตัวเป็นตน เปรียบประคุณของบิดามารดายิ่งกว่าภูเขา  หรือแผ่นดิน สุดที่จะทดแทนพระคุณ มากล้นนี้ได้ด้วยการบูชาอันวิเศษสมบูรณ์เลิศล้ำ
  ข้าขอนบชนกคุณ                ชนนีเป็นเค้ามูล
ผู้กอบนุกูลพูน                             ผดุงจวบเจริญวัย
ฟูมฟักทะนุถนอม                       บ บำราศนิราไกล
แสนยากเท่าไรไร                      บ คิดยากลำบากกาย                                          
ตรากทนระค อ่านเพิ่มเติม

พระเวสสันดรชาดก

1. กัณฑ์ทศพร เริ่มตั้งแต่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ แล้วเสด็จไปเทศนาโปรดพระเจ้าพิมพิสาร ต่อจากนั้นเสด็จไปโปรดพุทธบิและพระประยูรญาติที่กรุงกบิลพัสดุ์ เกิดฝนโบกขรพรรษ พระสงค์สาวกกราบทูลอาราธนาให้ทรงแสดงเรื่องมหาเวสสันดรชาดก เริ่มตั้งแต่เมื่อกัปที่ 98 นับแต่ปัจจุบัน พระนางผุสดีซึ้งจะทรงเป็นพระมารดาของพระเวสสันดร ทรงอธิษฐานขอเป็นมารดาของผู้มีใจบุญจบลงตอนพระนางได้รับพร 10 ประการจากพระอินทร์ อานิสงค์ของผู้บูชากัณฑ์นี้คือ ผู้นั้นจะได้รับทรัพย์สมบัติดังปรารถนา ถ้าเป็นสตรีจะได้สามีที่เป็นที่ชอบเนื้อเจริญใจ บุรุษจะได้ภรรยาเป็นที่ต้องประสงค์อีกเช่นเดียวกันจะได้บุตรหญิงชายเป็นคนว่านอนสอนง่าย มีรูปร่างที่งดงาม มีความประพฤติดีกริยาเรียบร้อย
2. กัณฑ์หิมพานต์ พระเวส อ่านเพิ่มเติม

นิราศนรินทร์คำโคลง

ความเป็นมา
      นิราศ เป็นงานประพันธ์ประเภทหนึ่งของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ เท่าที่ปรากฏหลักฐานในปัจจุบัน นิราศเรื่องแรกของไทยนั้นคือ โคลงนิราศหริภุญชัย ซึ่งแต่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา
๑.๑ ลักษณะของนิราศ
      พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๔๒ อธิบายว่า “นิราศ” หมายถึง .เรื่องราวที่พรรณนาถึงการจากกันหรือจากที่อยู่ไปในที่ต่างๆ
 ๑.๒ เนื้อหาของนิราศ

      เนื้อหานิราศส่วนใหญ่มักเป็นก อ่านเพิ่มเติม

อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง

 อิเหนา เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องของบทละครลำ เพราะเป็นหนังสือซึ่งแต่งดีทั้งกลอน ทั้งความ และทั้งกระบวนการที่ตะเล่นละครประกอบการ และยังเป็นหนังสือที่ดี ในทางที่ตะศึกษาประเพณีไทยสมัยโบราณ  แม้บทละครเรื่องอิเหนาจะมีเค้าโครงมาจากนิทานพื้นเมืองของชาวชวา  เอกส
อ่านเพิ่มเติม

นิทานเวตาล

นิทานเวตาล (สันสกฤตवेतालपञ्चविंशति เวตาลปัญจวิงศติ แปลว่า นิทานเวตาล 25 เรื่อง) เป็นวรรณกรรมสันสกฤตโบราณ ซึ่งเล่าขานโดยกวีชื่อ ศิวทาส และได้ถูกเล่าขานกันต่อมากว่า 2,500 ปีล่วงมาแล้ว โครงเรื่องหลักของนิทานเรื่องนี้เป็นเรื่องการโต้ตอบตอบปัญหาระหว่างพระวิกรมาทิตย์ กษัตริย์แห่งกรุงอุชชิยนี กับเวตาล ปีศาจที่มีร่างกายกึ่งมนุษย์กับค้างคาว ซึ่งจะนำเข้าไปสู่นิทานย่อยต่างๆ ที่แ อ่านเพิ่มเติม

เสียงลือเสียงเล่าอ้าง

คลงสี่สุภาพซึ่งถือเป็นโคลงแม่บท
                                         เสียงลือเสียงเล่าอ้าง     อันใด  พี่เอย
                                    เสียงย่อมยอยศใคร             ทั่วหล้า 
                                    สองเขือพี่หลับใหล              ลืมตื่น  ฤๅพี่
                                    สองพี่คิดเองอ้า                   อย่าได้ถามเผือ
                                                                                            (ลิลิตพระลอ)
ลักษณะบังคับของโคลงสี่สุภาพ 
            ๑.  คณะ   โคลงสี่สุภาพบทหนึ่งมี  อ่านเพิ่มเติม

การอ่านโคลงสี่สุภาพ

โคลงสี่สุภาพมีวิธีการอ่านดังนี้
1. อ่านทอดเสียงให้ตรงตามจังหวะของแต่ละวรรค วรรคหน้าแต่ละบาทมี 2 จังหวะ จังหวะละ 2 คำ และ 3 คำวรรคหลังบาทที่ 1 และบาทที่ 3 มี 1 จังหวะ เป็นจังหวะ 2 คำ ถ้ามีคำสร้อยก็เพิ่มอีก 1 จังหวะ เป็นจังหวะ 2 คำ วรรคหลังบาทที่ 2 มี 1 จังหวะ เป็นจังหวะ 2 คำ วรรคหลังบาทที่ 4 มี 2 จังหวะ จังหวะละ 2 คำ
2. คำท้ายว อ่านเพิ่มเติม

ภาษาบาลี สันสกฤต

บาลีและสันสกฤต
ภาษาบาลีและสันสกฤตอยู่ในตระกูลภาษาที่มีวิภัตปัจจัย คือเป็นภาษาที่ที่มีคำเดิมเป็นคำธาตุ เมื่อจะใช้คำใดจะต้องนำธาตุไปประกอบกับปัจจัยและวิภัตติ เพื่อเป็นเครื่องหมายบอกพจน์ ลึงค์ บุรุษ กาล มาลา วาจก โครงสร้างของภาษาประกอบด้วย ระบบเสียง หน่วยคำ และระบบโครงสร้างของประโยค ภาษาบาลีและสันสกฤตมีหน่วยเสียง 2 ประเภท คือ ห อ่านเพิ่มเติม